มะเร็งเต้านมระยะที่สามตอนปลาย( Locally Advanced Breast Cancer)

เป็นโรคมะเร็งเต้านมอีกระยะหนึ่ง ที่ถือว่ามีความยุ่งยากในการรักษา มีความสลับซับซ้อน เท่าที่ทราบ โรคระยะนี้ยังไม่มีคำบัญญัติในภาษาไทย จึงขอตั้งชื่อเอาเองว่าเป็น “ระยะที่สามตอนปลาย”  ความหมายคือเป็นโรคที่มีก้อนมะเร็งขนาดใหญ่ อ่านต่อ

การผ่าตัดเสริมสร้างเต้านมในผู้ป่วยมะเร็งเต้านม

จากสถิติของสถาบันมะเร็งแห่งชาติพบว่าผู้หญิงไทยป่วยเป็นโรคมะเร็งเต้านมปีละประมาณ 25,000 คน ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดแบบตัดเต้านมออกทั้งหมด อ่านต่อ

มะเร็งเต้านมระยะที่ศูนย์ หมายความว่าอย่างไร ?

ในระยะแรกของการก่อตัวเป็นก้อนมะเร็ง เซลล์มะเร็งยังคงแบ่งตัวเพิ่มจำนวน อยู่ภายในเนื้อเยื่อฐานราก (basement membrane) ซึ่งเปรียบเสมือนเป็นกำแพงที่คอยกั้นเซลล์มะเร็งไม่ให้ลุกลามออกไปสู่ภายนอกท่อน้ำนม อ่านต่อ

แมมโมแกรมปกติ/ผิดปกติ เขาดูกันอย่างไร

เนื้อหาส่วนนี้จะเป็นการอธิบายการดูภาพ แมมโมแกรม  เวลาที่เราไปตรวจเช็คเต้านมเคยสงสัยกันบ้างไหมครับว่า แพทย์ด้านเต้านมเขาดูฟิล์มกันอย่างไร อ่านต่อ

การตรวจพิสูจน์เนื้อเยื่อ เมื่อสงสัยพบก้อนมะเร็ง (Tissue Diagnosis)

เมื่อตรวจพบความผิดปกติเกิดขึ้นในเต้านม สิ่งที่จะต้องทำต่อก็คือการตรวจพิสูจน์เนื้อเยื่อ เพื่อให้ทราบว่าความผิดปกติดังกล่าวเป็นอะไรกันแน่ อ่านต่อ

เล่าความเป็นมาของการผ่าตัด มะเร็งเต้านม

โรคมะเร็งเต้านม เป็นโรคที่เก่าแก่ ถือกำเนิดขึ้น มาพร้อมๆกับการก่อกำเนิดของมนุษยชาติ แต่มนุษย์เพิ่งมีความเข้าใจในโรคนี้ และเริ่มมีการค้นพบวิธีการรักษาที่มาถูกทาง อ่านต่อ

ก้อนเนื้องอกชนิดกึ่งมะเร็ง( Phyllodes tumor)

ก้อนเนื้องอกชนิดนี้พบได้ไม่บ่อยนัก  แต่มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าก้อนเนื้อมะเร็ง   ปัจจุบันนี้พบว่าเนื้องอกชนิดนี้มีความรุนแรงได้หลายรูปแบบ ตั้งแต่ไม่รุนแรงอะไรเลย (benign phyllodes tumor) อ่านต่อ